วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566

ประวัติความเป็นมาของวัดพุทธนิมิต โดย สลากไทพลัส กองสลากไทพลัส

สลากไทพลัส จะมาเสนอประวัติความเป็นมาของวัดพุทธนิมิตอยู่บนยอดเขาภูค่าว บริเวณยอดเขาด้านทิศตะวันตกมีพระนอนแกะสลักบนแผ่นผาผายุนับพันปีเป็นที่เคารพสักการะของชาวกาฬสินธุ์ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีโบสถ์ที่ประดับตกแต่งสวยงามและวิหารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและพระเครื่องจำนวนมาก 



 วัดพุทธนิมิต อยู่บนยอดเขาภูค่าว บริเวณยอดเขาด้านทิศตะวันตกมีพระนอนแกะสลักบนแผ่นผาผายุนับพันปี เป็นที่เคารพสักการะของชาวกาฬสินธุ์ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีโบสถ์ที่ประดับตกแต่งสวยงามและวิหารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและพระเครื่องจำนวนมาก มีงานเฉลิมฉลองพระพุทธไสยาสน์ในวันสงกรานต์ ประตูทางเข้าพระธาตุเจดีย์ เป็นไม้แผ่นชิ้นเดียวขนาดใหญ่แกะสลัก ข้างในพระธาตุเจดีย์งามตระการตา พื้นปูด้วยไม้แผ่นขนาดใหญ่ ตรงกลางเป็นที่ประดิษฐานของ “พระพุทธนิมิตเหล็กไหล” ทั้งองค์มีเนื้อสีดำ ประทับอยู่บนฐานไม้ ส่วนรอบ ๆ ภายในพระมหาธาตุเจดีย์ จะมีพระพุทธรูปประดิษฐานรายรอบเต็มไปหมด แต่ข้างในค่อนข้างมืดเพราะยังไม่มีการติดไฟฟ้าแสงสว่าง ทำให้การถ่ายภาพลำบากเล็กน้อย ภายในกว้างใหญ่สามารถจุผู้คนได้หลายร้อยคน และอาจจะเกือบถึง 1,000 คน บริเวณยอดเขาด้านทิศตะวันตกมีพระนอนแกะสลักบนแผ่นผาผายุนับพันปี เป็นที่เคารพสักการะของชาวกาฬสินธุ์


พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว มีพุทธลักษณะเป็นพระนอนปางไสยาสน์ คือ พระเศียรหนุนทับต้นแขน โดยท่อนแขนที่หนุนพระเศียรไม่ได้ตั้งขึ้นและพระหัตถ์ไม่ได้รองรับพระเศียร องค์พระมีลักษณะพิเศษคือ นอนตะแคงซ้ายไม่มีเกตุมาลา เป็นลักษณะของพระโมคคัลลานะ พระสาวกองค์หนึ่งของพระพุทธเจ้า ความยาวตลอดองค์ 2 ม. สูง 0.5 ม. มีทองคำเปลวปิดอยู่ทั่วองค์ ทางวัดจะจัดให้มีงานสรงน้ำพระพุทธรูปไสยาสน์ในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี พระนอนที่สลักบนแผ่นผานี้สร้างขึ้นหลังการสมโภชองค์พระธาตุพนมเล็กน้อย ประมาณปี พ.ศ.8 โดยกลุ่มคนที่จะเดินทางไปร่วมสร้างพระธาตุพนมแต่ไปไม่ทันองค์พระธาตุสร้างเสร็จก่อน จึงร่วมกันสร้างพระนอนองค์นี้ ปี พ.ศ.2484 พระคุณเจ้าสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ได้ขึ้นไปตรวจสังฆมณฑลภาคอีสาน และแวะจำวัดกลางมาลัยในเมืองสหัสขันธ์ซึ่งอยู่ห่างจากภูค่าวไปทางตะวันตกราว 8 กม. ในครั้งนั้นท่านได้ไปนมัสการพระนอนที่เพิงผานี้ด้วย เมื่อเสร็จสังฆกิจเสด็จกลับกรุงเทพฯ จึงบัญชาให้อธิบดีกรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นปูชนียวัตถุโบราณแห่งแรกใน จังหวัดกาฬสินธุ์


ตั้งอยู่บ้านนาสีนวล ตำบลสหัสขันธ์ ห่างจากตัวอำเภอสหัสขันธ์ประมาณ 7 กิโลเมตร ห่างจากภูสิงห์ประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปไสยาสน์ตะแคงซ้าย ไม่มีเกตุมาลา ความยาวประมาณ 2 เมตร กว้าง 25 ซม. เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วไป ตามประวัติกล่าวว่าพระโมคัลลานะ พระสาวกของพระพุทธเจ้าสร้างขึ้นเมื่อ 2,000 กว่าปีมาแล้ว และทางวัดจะจัดให้มีงานสรงน้ำพระพุทธรูปไสยาสน์ในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี นอกจากนี้ภายในวัดยังมีอุโบสถไม้แบบเปิด แกะสลักลวดลายงดงามเป็นภาพสามมิติ ตามประตู หน้าต่าง เพดาน ภาพพุทธประวัติ ทศชาติชาดก และยังมีวิหารสังฆนิมิต ซึ่งเป็นที่เก็บพระพุทธรูป และพระเครื่องรุ่นต่าง ๆ ที่หายากเปิดให้เข้าชมทุกวัน



ลักษณะเด่น

พระนอนสลักบนแผ่นผา หรือพระพุทธไสยาสน์ภูค่าว มีพุทธลักษณะเป็นพระนอนปางไสยาสน์ คือ พระเศียรหนุนทับต้นแขน โดยท่อนแขนที่หนุนพระเศียรไม่ได้ตั้งขึ้นและพระหัตถ์ไม่ได้รองรับพระเศียร องค์พระมีลักษณะพิเศษคือ นอนตะแคงซ้ายไม่มีเกตุมาลา ตำนานว่าเป็นลักษณะของพระโมคคัลลานะ พระสาวกองค์หนึ่งของพระพุทธเจ้า ความยาวตลอดองค์ 2 ม. สูง 0.5 ม. มีทองคำเปลวปิดอยู่ทั่วองค์ วิหารสังฆนิมิต อยู่บนยอดเขาใกล้ทางไปชมพระนอนภายในประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดเล็กจำนวนมาก และบริเวณผนังเรื่อยขึ้นไปถึงเพดานมีพระเครื่องต่าง ๆ นับพันองค์ติดประดับอยู่ดูสวยงามตื่นตา นอกจากนี้บริเวณลานโล่งนอกตัววิหารยังมีหอพระธาตุซึ่งประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ทางวัดได้มาจากที่ต่างๆ ในภาชนะแก้วใส และรอยพระพุทธบาทจำลองเก่าแก่สลักบนหินก็อยู่ในบริเวณเดียวกัน โบสถ์ไม้ อยู่บนเนินเขาด้านซ้ายของถนนก่อนถึงบริเวณวัด เป็นอาคารไม้ทรงไทยตั้งบนฐานลวดบัวปูนปั้น หลังคาจั่วซ้อนกันสามชั้น มีชายคาปีกนกทั้งสี่ด้าน หน้าบันเป็นไม้แกะสลักรูปพระพุทธเจ้าประทับในป่าทึบแวดล้อมด้วยสิงสาราสัตว์ บานประตูหน้าต่างแกะสลักเรื่องพุทธชาดก และมีการประดับไม้ฉลุลายพรรณพฤกษาทั่วโบสถ์ ภายในโบสถ์ประดิษฐานพระมงคลชัยสิทธิ์โรจนฤทธิประสิทธิพร เป็นพระประธานปางตรัสรู้หรือปางสมาธิสีทองสุกอร่าม บริเวณโดมเพดานเหนือองค์พระตกแต่งด้วยประติมากรรมไม้แกะสลักนูนต่ำเรื่องพุทธประวัติ ทาสีทอง พระบรมสารีริกธาตุดังกล่าวข้างต้น ได้อัญเชิญมาบรรจุไว้ในมหาธาตุเจดีย์พุทธนิมิต แห่งนี้ ณ วัดพุทธนิมิต (ภูค่าว) อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เมื่อปีฉลู วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2552 พระธาตุ มีความสูง 80 เมตร พระพุทธเจ้าปรินิพพาน 80 ปี พระมหาธาตุเจดีย์ หลังนี้ไม่มีบริวาร ประตูทางเข้าพระธาตุเจดีย์ เป็นไม้แผ่นชิ้นเดียวขนาดใหญ่แกะสลัก ซึ่งชี้ให้เห็นว่า จะต้องเป็นไม้ที่ได้จากต้นไม้ขนาด 3 คนโอบ ข้างในพระธาตุเจดีย์งามตระการตา พื้นปูด้วยไม้แผ่นขนาดใหญ่ ตรงกลางเป็นที่ประดิษฐานของ “พระพุทธนิมิตเหล็กไหล” ทั้งองค์มีเนื้อสีดำ ประทับอยู่บนฐานไม้ ส่วนรอบ ๆ ภายในพระมหาธาตุเจดีย์ จะมีพระพุทธรูปประดิษฐานรายรอบเต็มไปหมด แต่ข้างในค่อนข้างมืดเพราะยังไม่มีการติดไฟฟ้าแสงสว่าง ทำให้การถ่ายภาพลำบากเล็กน้อย ภายในกว้างใหญ่สามารถจุผู้คนได้หลายร้อยคน และอาจจะเกือบถึง 1,000 คน บริเวณยอดเขาด้านทิศตะวันตกมีพระนอนแกะสลักบนแผ่นผาผายุนับพันปี เป็นที่เคารพสักการะของชาวกาฬสินธุ์ พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว มีพุทธลักษณะเป็นพระนอนปางไสยาสน์ คือ พระเศียรหนุนทับต้นแขน โดยท่อนแขนที่หนุนพระเศียรไม่ได้ตั้งขึ้นและพระหัตถ์ไม่ได้รองรับพระเศียร องค์พระมีลักษณะพิเศษคือ นอนตะแคงซ้ายไม่มีเกตุมาลา ตำนานว่าเป็นลักษณะของพระโมคคัลลานะ พระสาวกองค์หนึ่งของพระพุทธเจ้า ความยาวตลอดองค์ 2 ม. สูง 0.5 ม. มีทองคำเปลวปิดอยู่ทั่วองค์ .. ทางวัดจะจัดให้มีงานสรงน้ำพระพุทธรูปไสยาสน์ในวันที่ 19 เมษายน ของทุกปี ตำนานท้องถิ่นเล่าว่า พระนอนที่สลักบนแผ่นผานี้สร้างขึ้นหลังการสมโภชองค์พระธาตุพนมเล็กน้อย ประมาณปี พ.ศ.8 โดยกลุ่มคนที่จะเดินทางไปร่วมสร้างพระธาตุพนมแต่ไปไม่ทันองค์พระธาตุสร้างเสร็จก่อน จึงร่วมกันสร้างพระนอนองค์นี้ ปี พ.ศ.2484 พระคุณเจ้าสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ได้ขึ้นไปตรวจสังฆมณฑลภาคอีสาน และแวะจำวัดกลางมาลัยในเมืองสหัสขันธ์ซึ่งอยู่ห่างจากภูค่าวไปทางตะวันตกราว 8 กม. ในครั้งนั้นท่านได้ไปนมัสการพระนอนที่เพิงผานี้ด้วย เมื่อเสร็จสังฆกิจเสด็จกลับกรุงเทพฯ จึงบัญชาให้อธิบดีกรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นปูชนียวัตถุโบราณแห่งแรกใน จ.กาฬสินธุ์ อุโบสถไม้แบบเปิด อยู่บนเนินเขาด้านซ้ายของถนนก่อนถึงบริเวณวัด เป็นอาคารไม้ทรงไทยตั้งบนฐานลวดบัวปูนปั้น หลังคาจั่วซ้อนกันสามชั้น มีชายคาปีกนกทั้งสี่ด้าน หน้าบันเป็นไม้แกะสลักรูปพระพุทธเจ้าประทับในป่าทึบแวดล้อมด้วยสิงสาราสัตว์ บานประตูหน้าต่างแกะสลักเรื่องพุทธชาดก และมีการประดับไม้ฉลุลายพรรณพฤกษาทั่วโบสถ์ ภายในโบสถ์ประดิษฐาน "พระมงคลชัยสิทธิ์โรจนฤทธิประสิทธิพร" เป็นพระประธานปางตรัสรู้หรือปางสมาธิสีทองสุกอร่าม บริเวณโดมเพดานเหนือองค์พระตกแต่งด้วยประติมากรรมไม้แกะสลักนูนต่ำเรื่องพุทธประวัติ ทาสีทอง ไม้ที่ใช้สร้างวิหารหลังนี้ได้มาจากไม้ที่จมอยู่ใต้น้ำของเขื่อนลำปาว ที่ได้ขออนุญาตินำมาใช้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย




ประวัติ

วัดพุทธนิมิต อยู่บนยอดเขาภูค่าว ตั้งอยู่ที่ บ้านนาสีนวล ตำบลสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากตัวอำเภอสหัสขันธ์ประมาณ 7 กิโลเมตร ห่างจาก อำเภอสมเด็จประมาณ 30 กม. มหาธาตุเจดีย์ วัดพุทธนิมิต (ภูค่าว) สร้างเมื่อวัน อาทิตย์ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 เป็นพระธาตุเจดีย์ขนาดใหญ่ ตั้งโดดเด่นเป็นสง่ามองเห็นได้จากที่ไกลๆ ตามประวัติกล่าวว่า เมือปีจอ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เดือนสิงหาคม พุทธศักราช 2549 พระอาจารย์ณรงค์ ชยมงฺคโล เจ้าอาวาสวัดพุทธนิมิต (ภูค่าว) พร้อมคณะศิษยานุศิษย์ ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ จำนวน 2 องค์ จากวัดศรีวิชัยโสคตวิทยาลัย เมืองลาวานะ-ปานาธุระ โดยมีพระปานธุระวิตธะนันทะเกโร เป็นประธานสงฆ์ฝ่ายศรีลังกา จากนั้นได้ทำพิธีสมโภชน์พระบรมสารีริกธาตุ โดยมีสมเด็จมหาสังฆนายกสยามนิกายฝ่ายอัสคิริยา (อรัญวสี )เป็นประธาน เมื่อปีจอ วันอาทิตย์ที่ 13 เดือนสิงหาคม พุทธศักราช 2549 ณ วัดอัศคิริยา กรุงแคนดี้ ประเทศศรีลังกา ต่อมาปีกุน วันศุกร์ที่ 19 เดือนมกราคม พุทธศักราช 2550 ได้รับมอบพระบรมสารีริธาตุ อีกจำนวน 2 องค์ จากพระรัตนรังสี (วีรยทธ์ วีรยุทโธ) เจ้าอาวาส วัดไทยกุฉินาราเฉลิมราชย์ ปัจจุบัน ตำบลกาเซีย จังหวัดกุสินาคาร์ รัฐอุตรประเทศ ประเทศอินเดีย วิหารสังฆนิมิต อยู่บนยอดเขาใกล้ทางไปชมพระนอน ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดเล็กจำนวนมาก และบริเวณผนังเรื่อยขึ้นไปถึงเพดานมีพระเครื่องต่าง ๆ นับพันองค์ติดประดับอยู่ดูสวยงามน่าตื่นตา พระเครื่องที่นำมาเก็บไว้ที่นี่ เป็นพระเครื่องชั้นยอดทั้งสิ้น โดยมีการติดพระเครื่องไว้รายรอบทั้งดาดฟ้าเพดาน ซึ่งนับว่าเป็นเรื่องแปลก ที่ไม่มีวัดที่ไหนทำมาก่อน นอกจากนี้บริเวณลานโล่งนอกตัววิหารยังมีหอพระธาตุซึ่งประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ทางวัดได้มาจากที่ต่างๆ ในภาชนะแก้วใส และรอยพระพุทธบาทจำลองเก่าแก่สลักบนหินก็อยู่ในบริเวณเดียวกัน ในบริเวณวัด ที่มีฝูงนกยูงอยู่หลายสิบตัว และบางตัวกำลังรำแพน ออกท่าทางสวยงาม




 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ไทยพลัสนิวส์ 10 อาหารที่กินแล้วทำให้ แก่วัย

 ไทยพลัสนิวส์ 10 อาหารที่กินแล้วทำให้ แก่วัย ไทยพลัสนิวส์ 10 อาหารที่กินแล้วทำให้ แก่วัย เรื่องของอาหารการกิน ยังไงก็เป็นเรื่องที่สำคัญ ต่อร...